หนาวแค่ไหนก็ไม่เหงา เพราะเรามีตัวช่วย (โรค ซึมเศร้า ตามฤดูกาล)

โรคซึมเศร้า ตามฤดูกาล (Seasonal Affective Disorder หรือ SAD) คือการมีอารมณ์ ซึมเศร้า สะเทือนใจ มากกว่าปกติในบางฤดูกาลโดยเฉพาะในฤดูที่มีแสงแดดน้อย

เช่น ฤดูฝน และฤดูหนาว ในวันที่ฝนตกหนัก หรือเมื่อเข้าสู่ฤดูหนาว คนทั่วไปอาจมีความรู้สึก ซึมเศร้า ได้เมื่อสภาพอากาศมืดมัว ทำให้รู้สึกว่าตัวเองมีพลังงานลดลง เหนื่อยหน่ายหดหู่

โรค ซึมเศร้า ตามฤดูกาล ซึ่งเป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับระดับของแสงอาทิตย์นี้ สัมพันธ์กับ “เมลาโทนิน” ซึ่งเป็นฮอร์โมนในสมองที่เกี่ยวข้องกับการนอนหลับ โดยในช่วงกลางคืนจะมีการผลิตเมลาโทนินในระดับสูง ซึ่งเชื่อว่าอาจเป็นสาเหตุให้มนุษย์เกิดภาวะ ซึมเศร้า

คำแนะนำหากรู้สึกว่ามีภาวะซึมเศร้าตามฤดูกาล

  1. ช่วงกลางวันที่มีแดด แนะนำให้พยายามออกไปรับแสงแดดให้มาก หากหนาวเกินไปที่จะเดินออกไปนอกอาคารหรือนอกออฟฟิศก็ให้เปิดหน้าต่างให้มากที่สุดหรือนั่งติดหน้าต่าง เพื่อให้สายตาได้รับแสงแดด
  2. อาหารที่ควรรับประทาน
    • กล้วยหอมเพราะกล้วยหอมช่วยลดการเกิดอาการ ซึมเศร้า ได้ เนื่องจากมีสารทริปโตแฟน (Tryptophan) ซึ่งเป็นกรดอะมิโนชนิดหนึ่ง ที่ร่างกายสามารถเปลี่ยนให้เป็นสารเซโรโทนิน (Serotonin) ทำให้ผ่อนคลาย มีความสุข นอกจากนี้ยังมีวิตามินบีที่สูง ช่วยในการทำงานของระบบประสาท และสมอง
    • ปลาเช่น ปลาแซลมอน ปลาซาร์ดีน ปลาทูน่า มีกรดไขมันที่ดีต่อสุขภาพอย่างกรดไขมันโอเมก้า 3 ช่วยลดอาการซึมเศร้า และทำให้สมองทำงานได้ดีขึ้นด้วย
  1. การออกกำลังกายช่วยลดความวิตกกังวล ความเครียด และยังเพิ่มคุณภาพการนอนหลับ พอเหงื่อออกก็กระตุ้นการทำงานของร่างกายให้กระฉับกระเฉง จึงลดภาวะเฉื่อยชาซึมเศร้า
  2. หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์เนื่องจากส่งผลต่อการทำงานของสมอง
  3. หลีกเลี่ยงการรับความรู้สึกเชิงลบไม่ว่าจะเป็นการชมภาพยนต์ที่ โศกเศร้า หรือฟังดนตรีที่ เศร้า ให้เลือกชมภาพยนตร์ที่สนุกสนาน และฟังเพลงที่ทำให้สบายใจ
อ่านบทความจากเภสัชกรเพิ่มเติมได้ >> ที่นี่

ยังมีเรื่องราวน่ารู้อีกมากเกี่ยวกับหน้าหนาว สอบถามทุกเรื่องเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่วงหน้าหนาวเพิ่มเติมได้ที่ ร้านยาเอ็กซ์ต้า พลัส ทุกสาขาใกล้บ้าน สะดวกยิ่งกว่านั้น ขอแนะนำแอพพลิเคชั่น All Pharma See ปรึกษาเภสัชกรฟรี จะแชท หรือวิดีโอคอลก็ได้ พร้อมดูแลสุขภาพตลอดเวลาทำการเลยนะคะ แถมยังมีฟีเจอร์อื่นๆอีกมากมาย มาสุขภาพดี สะดวกทุกที่ ทุกเวลากันนะคะ

All Pharma See

อ้างอิง

  1. ห้องสมุดโรงพยาบาลศรีธัญญา.//(2547).//โรคซึมเศร้าตามฤดูกาล.//สืบค้นเมื่อ12 ตุลาคม 2563,/จาก/https://www.dmh.go.th/sty_lib/news/depression/view.asp?id=11
  2. คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.//โรคซึมเศร้า.//สืบค้นเมื่อ12 ตุลาคม 2563,/จาก/ http://www.student.chula.ac.th/~59370812/

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายการใช้คุกกี้ และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

อนุญาตทั้งหมด
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
    Cookies Details

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์และประเมินผลใช้งาน (Performance Cookies)

    คุกกี้ประเภทนี้ช่วยให้เอ็กซ์ต้าเห็นการปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้งานในการใช้บริการเว็บไซต์ของเอ็กซ์ต้า รวมถึงหน้าเพจหรือพื้นที่ใดของเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยม ตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูลด้านอื่นๆ เอ็กซ์ต้ายังใช้ข้อมูลนี้เพื่อการปรับปรุงการทำงานของเว็บไซต์และเพื่อเข้าใจพฤติกรรมของผู้ใช้งาน อย่างไรก็ดี ข้อมูลที่คุกกี้นี้เก็บรวบรวมจะเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวตนได้และนำมาใช้วิเคราะห์ทางสถิติเท่านั้น การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้เอ็กซ์ต้าไม่สามารถทราบปริมาณผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ และไม่สามารถประเมินคุณภาพการให้บริการได้
    Cookies Details

  • คุกกี้เพื่อการโฆษณา (Targeting Cookies)

    คุกกี้ประเภทนี้เป็นคุกกี้ที่เกิดจากการเชื่อมโยงเว็บไซต์ของบุคคลที่สาม ซึ่งเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานและเว็บไซต์ที่ท่านได้เข้าเยี่ยมชม เพื่อนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่นที่ไม่ใช่เว็บไซต์ของเอ็กซ์ต้า ทั้งนี้หากท่านปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะไม่ส่งผลต่อการใช้งานเว็บไซต์ของเอ็กซ์ต้า แต่จะส่งผลให้การนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่นๆ ไม่สอดคล้องกับความสนใจของท่าน
    Cookies Details

บันทึก